วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย  (EAED3208)
อาจารย์ผู้สอน  ว่าที่ร้อยตรีกฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
 ครั้งที่ 15 วันที่ 25 มีนาคม 2558
เวลาเรียน  08:30-10:10 น. เวลาเข้าเรียน 08.30 น. เวลาเลิกเรียน 10.10 

งานที่อาจารย์ได้สั้งให้ทำคือเปเปอร์มาเช่ กลุ่มของดิฉันได้ทำอุปกรณ์มาจากห้องแล้วค่ะ



งานชิ้นที่ 1 งานสื่อผสม น้ำวัสดุต่างๆที่เหลือใช้มาตกแต่งให้สวยงาม ( งานกลุ่ม )
ชื่อผลงาน ทะเลร่วมรัก 




งานชิ้นที่ 2 งานใบไม้ ( งานกลุ่ม )
ชื่อผลงาน นางฟ้ามาโปรด




งานชิ้นที่ 3 งานเปเปอร์มาเช่ ( งานเดียว )
ชื่อผลงาน  In Love 




ประเมิน

ตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ช่วยกันทำสิ่งที่ได้รับมอบหมายเต็มที่
อาจารย์ อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงเวลา งานวันนี้อาจารย์แนะนำแต่สิ่งที่ดีและมีประโยชน์ต่อนักศึกษาในอนาคตได้ อาจารย์เก่งถึงเวลาเรียนจะเหลือน้อยอาจารย์ก็พยายามนำความรู้ให้นักศึกษาทุกคนให้ได้รับความรู้ให้มากที่สุด อาจารย์บาสคนหล่อและใจดี




วันพุธที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย  (EAED3208)
อาจารย์ผู้สอน  ว่าที่ร้อยตรีกฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
 ครั้งที่ 14 วันที่ 18 มีนาคม 2558
เวลาเรียน  08:30-10:10 น. เวลาเข้าเรียน 08.30 น. เวลาเลิกเรียน 10.10 

งานที่อาจารย์ได้สั่งให้นำมา เมื่อวันศุกร์ ที่ 13 มีนาคม เวลา 18.55




วันนี้อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ทำ 5ชิ้น


และอาจารย์ได้สั่งงานของสัปดาห์หน้าไว้ด้วย คือ



งานชื้นที่ 1 โมบาย ( งานเดี่ยว )
ชื่อผลงาน สวรรค์ใต้ท้องทะเล


ขั้นตอนในการทำ


สอนศิลป์





งานชิ้นที่ 2 แกนกระดาษทิชชู ( งานกลุ่ม )
ชื่อผลงาน สัตว์เลี้ยงของฉัน




งานชิ้นที่ 3 จานกระดาษ ( งานเดี่ยว )
ชื่อผลงาน เวลาแห่งอนาคต




งานชิ้นที่ 4 การร้อย ( งานเดี่ยว )
ชื่อผลงาน สร้อยข้อมือแสนสวย


ขั้นตอนการทำ





งานชิ้นที่ 5 นำของที่เหลือใช้ มาทำเป็นผลงาน ( งานกลุ่ม )
ชื่อผลงาน กล่องใส่ของวิเศษ


เพิ่มเติม
ความหมายของงานประดิษฐ์

1. ความหมายของงานประดิษฐ์ งานประดิษฐ์ หมายถึง สิ่งที่จัดทำขึ้น โดยใช้ความคิด สร้างสรรค์ให้เกิดความประณีต สวยงาม น่าสนใจ เพื่อประโยชน์ที่พึงประสงค์ เช่น งานประดิษฐ์ดอกไม้ ผ้ารองจาน กระเป๋า ตุ๊กตา ที่คั่นหนังสือ กระทงใบตอง บายศรี พานดอกไม้ มาลัยแบบอื่นๆ
2. ความสำคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์
      2.1 ประหยัดค่าใช้จ่าย

     2.2 ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
     2.3 ความเพลิดเพลิน
     2.4 เพิ่มคุณค่าของวัสดุ
     2.5 สร้างความแปลกใหม่ที่มีอยู่เดิม
     2.6 ชิ้นตรงตามความต้องการ
     2.7 เป็นของกำนัลแก่ผู้อื่น2.8 อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย
     2.8 เพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว
     2.9 เกิดความภูมิใจในตนเอง

ประโยชน์ของ งานประดิษฐ์ 
1. เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. มีความภูมิใจในผลงานของตน
3. มีรายได้จากผลงาน
4. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ 
5. เป็นการฝึกให้รู้จักสังเกตสิ่งรอบๆ ตัว และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์

ลักษณะของงานประดิษฐ์

1. งานประดิษฐ์ทั่วไป เป็นงานที่บุคคลสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเองโดยอาศัยการเรียนรู้จากสิ่งรอบๆ ตัว นำมาดัดแปลง หรือเรียนรู้จากตำรา เช่น การประดิษฐ์ของใช้จากเศษวัสดุ การประดิษฐ์ดอกไม้

2. งานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย เป็นงานที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษในครอบครัวหรือในท้องถิ่น หรือทำขึ้นเพื่อใช้งานหรือเทศกาลเฉพาะอย่าง เช่น มาลัย บายศรี งานแกะสลัก 


ประเภทของงานประดิษฐ์

งานประดิษฐ์ต่างๆ สามารถเลือกทำได้ตามความต้องการและประโยชน์ใช้สอย ซึ่งอาจแบ่งประเภทของงานประดิษฐ์ตามโอกาสใช้สอยดังนี้

1. ประเภทใช้เป็นของเล่น เป็นของเล่นที่ผู้ใหญ่ในครอบครัวทำให้ลูกหลานเล่นเพื่อความเพลิดเพลิน เช่น งานปั้นดินเป็นสัตว์ สิ่งของ งานจักสานใบลานเป็นโมบาย งานพับกระดาษ

2. ประเภทของใช้ ทำขึ้นเพื่อเป็นของใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การสานกระบุง ตะกร้า การทำเครื่องใช้จากดินเผา จากผ้าและเศษวัสดุ

3. ประเภทงานตกแต่ง ใช้ตกแต่งสถานที่ บ้านเรือนให้สวยงาม เช่น งานแกะสลักไม้ การทำกรอบรูป ดอกไม้ประดิษฐ์

4. ประเภทเครื่องใช้ในงานพิธี ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ในงานเทศกาลหรือประเพณีต่างๆ เช่น การทำกระทงลอย ทำพานพุ่ม มาลัย บายศรี

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานประดิษฐ์

การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการประดิษฐ์ชิ้นงานต้องเลือกให้เหมาะสมจึงจะได้งานออกมามีคุณภาพ สวยงาม รวมทั้งต้องดูแลรักษาอุปกรณ์เครื่องใช้เหล่านี้ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ตลอดเวลา และสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ดังนี้

1. ประเภทของเล่น

- วัสดุที่ใช้ เช่น กระดาษ ใบลาน ผ้า เชือก พลาสติก กระป๋อง

- อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น กรรไกร เข็ม ด้าย กาว มีด ตะปู ค้อน แปรงทาสี

2. ประเภทของใช้

- วัสดุที่ใช้ เช่น กระดาษ ไม้ โลหะ ดิน ผ้า

- อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น เลื่อย สี จักรเย็บผ้า กรรไกร เครื่องขัด เจาะ

3. ประเภทของตกแต่ง 

- วัสดุที่ใช้ เช่น เปลือกหอย ผ้า กระจก กระดาษ ดินเผา

- อุปกรณ์ เช่น เลื่อย ค้อน มีด กรรไกร สี แปรงทาสี เครื่องตอก

4. ประเภทเครื่องใช้ในงานพิธี

- วัสดุที่ใช้ เช่น ใบตอง ดอกไม้สด ใบเตย ผ้า ริบบิ้น

- อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น เข็มเย็บผ้า เข็มร้อยมาลัย คีม ค้น เข็มหมุด

การเลือกใช้และบำรุงรักษาอุปกรณ์ มีหลักการดังนี้

1. ควรเลือกใช้ให้ถูกประเภทของวัสดุและอุปกรณ์

2. ควรศึกษาวิธีการใช้ก่อนลงมือใช้

3. เมื่อใช้แล้วเก็บไว้ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย

4. ซ่อมแซมเครื่องมือที่ชำรุดให้พร้อมใช้เสมอ



ประเมิน
ตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ช่วยอาจารย์ยกของมาจากห้องพักครู ตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์ได้มอบหมายให้
พื่อน เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์ได้มอบหมายให้
อาจารย์ วันนี้อาจารย์มีติดประชุมของมหาวิทยาลัย แต่อาจารย์ได้มามอบหมายงานและบอกรายละเอียดต่างๆ อาจารย์ประชุมเสร็จก็รีบมาดูนักศึกษา ไม่ยอมไปรับประทานอาหารก่อน 



สัตว์โลกน่ารักสัตว์โลกน่ารักสัตว์โลกน่ารัก




































































บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย  (EAED3208)
อาจารย์ผู้สอน  ว่าที่ร้อยตรีกฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
 ครั้งที่ 13 วันที่ 11 มีนาคม 2558
เวลาเรียน  08:30-10:10 น. เวลาเข้าเรียน 08.30 น. เวลาเลิกเรียน 10.10 





วันนี้หนูไม่สามารถไปเรียนได้เนื่องจากหนูป่วยค่ะ










วันศุกร์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย  (EAED3208)
อาจารย์ผู้สอน  ว่าที่ร้อยตรีกฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
 ครั้งที่ 12 วันที่ 6 มีนาคม 2558
เวลาเรียน  08:30-10:10 น. เวลาเข้าเรียน 08.30 น. เวลาเลิกเรียน 10.10 


ในการเรียนการสอนวันนี้ก่อนอื่นอาจารย์ให้แต่ละกลุ่มนำอุปกรณ์ที่แต่ละกลุ่มน้ำมา คืออุปกรณ์ทำลูกชุบให้นำมาปั้นเป็นรูปตามที่ตนต้องการ

อุปกรณ์
1.กะทะไฟ้ฟ้า ( Pan )
2.ทัพพี ( Ladle )
3.สีผสมอาหารอย่างน้อย 3 สี 
4.ถั่วเขียวกวน ( Green bean )
5.น้ำตาล ( Sugar )
6.ผงวุ้น
7.ผักต่างๆ ( Vegetable )
8.ไม้เสียบลูกชิ้น หรือไม้จิ่มฟัน ( Toothpick )
9.กะทิ กลุ่มหนูได้ใส่กะทิลงไปในถั่วเพื่อที่จะกวนด้วยค่ะ ( Coconut Milk )


ปั้นลูกชุบตามใจชอบ 






หลังจากที่ปั่นลูกจุบก็นำลูกชุบที่ปั่นมาทาสี ตามใจชอบ






ตั้งผงวุ่นลงในกะทะแล้วกวน20นาที นำลูกชุบที่ทาสีเสร็จแล้ว มาจุมลงในวุ่นที่อยู่ในกะทะ จุ่มเสร็จแล้วนำมาปักไว้ที่โฟม ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆจนกว่าจะชอบ









จากที่จุ่มลูกชุบลงในวุ่นแล้วก็นำมาจัดใส่จานให้สวยงาม
ของกลุ่มหนูค่ะ

ชื่อภาพ ผักผลไม้ที่มีประโยชน์



ทำลูกชุบของแต่ละกลุ่มมาวางรวมกัน แล้วชิบรสชาติของแต่ละกลุ่มแตกต่างกันอย่างไร

ชื่อภาพ จุ่มสีปั่นรัก







หลังจากทำลูกชุบเสร็จแล้วอาจารย์ก็ให้งานทำโดยงานมีทั้งหมด5ชิ้น

1. พิมพ์จากพีช เช่น ใบไม้ ลำต้น ดอก ผล ราก  ( งานกลุ่ม )
2.วัสดุที่หาง่าย เช่น ฝาขวดน้ำ กระดาษ แก้ว เป็นต้น  ( งานเดี่ยว )
3.วัสดุที่แกะสลัก เช่น แครอท แตงกว่า มันฝรั่ง เป็นต้น ( งานเดี่ยว )
4.พิมพ์จากฟองน้ำ เช่น แบบหนา แบบบาง ( งานเดี่ยว )
5.พิมพ์อวัยวะของร่างกาย ( งานกลุ่ม )


อาจารย์อธิบายการทำงานชิ้นต่างๆให้ฟังว่ามีอะไรบ้างและควรทำอย่างไร









งานชิ้นที่ 1 พิมพ์จากพีช เช่น ใบไม้ ลำต้น ดอก ผล ราก  ( งานกลุ่ม )
ชื่อภาพ ธรรมชาติที่สวยงาม



งานชิ้นที่ 2 วัสดุที่หาง่าย เช่น ฝาขวดน้ำ กระดาษ แก้ว เป็นต้น  ( งานเดี่ยว )
ชื่อภาพ สีที่สวยงาม


งานชิ้นที่ 3 


วัสดุที่แกะสลัก เช่น แครอท แตงกว่า มันฝรั่ง เป็นต้น ( งานเดี่ยว )

ชื่อภาพ กำลังผลิดอก



งานชิ้นที่ 4 
พิมพ์จากฟองน้ำ เช่น แบบหนา แบบบาง ( งานเดี่ยว )

ชื่อภาพ สวนดอกไม้ของฉัน




งานชิ้นที่ 5 


พิมพ์อวัยวะของร่างกาย ( งานกลุ่ม )
ชื่อภาพ มือดอกไม้








ค้นคว้าเพิ่มเติมที่มีประโยชน์


ความสำคัญและประโยชน์ของงานประดิษฐ์ - - -



๑. ฝึกให้ิเกิดความคิดสร้างสรรค์ สร้างผลงานให้มีรูปร่างแปลกใหม่ และพัฒนางานประดิษฐ์เดิมให้สามารถใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น

๒. งานประดิษฐ์ที่ใช้วัสดุต่างๆ ที่นำมาประกอบเป็นชิ้นงาน

สามารถที่จะใช้วัสดุอย่างอื่นทดแทนกันได้ และสามารถนำวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
๓. ฝึกให้รู้จักวางแผน ในการทำงานอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอนในการปฎิบัติงาน

เป็นการสร้างระเบียบวินัยให้รู้จักทำงาน และมีนิสัยรักการทำงานในงานประดิษฐ์
๔. ให้นักเรียนรู้จักใช้และดูแลรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ในงานประดิษฐ์ได้อย่างถูกต้อง

และเหมาะสมกับประเภทของงานประดิษฐ์
๕. ฝึกให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สามารถได้อย่างมีสมาธิและมีความสุขในการสร้างสรรค์ชิ้นงานประดิษฐ์ของตนเอง
๖. ฝึกให้นักเรียนรู้จักประหยัด สามารถนำสิ่งของที่เหลือใช้มาทำให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการลงทุนมากนัก
๗. เป้นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น ให้มีการสืบทอดและพัฒนาต่อไป

จากภูมิปัญญาเดิมสู่การเรียนรู้ที่เป็นองค์รวมและเป็นผลงานของคนไทย
๘. สามารถเพิ่มรายได้ และสร้างอาชีพได้ในอนาคต
๙. เกิดความภูมิใจในชิ้นงานของตนเอง ในระดับหนึ่ง





สีผสมอาหาร


สีผสมอาหารภัยใกล้ตัว ... ที่มากับความสวยงาม ในปัจจุบันจะพบลว่าทั้งอาหารสด อาหารสำเร็จรูป
และเครื่องดื่มต่าง ๆ ที่ขายอยู่ทั่วไป มักมีสีสันสดใสสวยงาม ชวนรับทาน แต่แฝงไว้ด้วยอันตราย
เนื่องจากผู้ผลิตมัก ใส่สีสังเคราะห์ทางเคมีลงไปโดยคาดหวังว่า อาหารและเครื่องดื่มที่มีสีสดใส
สวยงามจะเป็นที่ ดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคได้ดี โดยเฉพาะเด็ก ๆ ซึ่งจะช่วยให้ขายดี ได้
กำไรมาก ทำให้มองข้ามพิษภัย ที่อาจจะเกิดขึ้นไป ดังนั้นในการเลือก ซื้ออาหารและเครื่องดื่ม
จำเป็น ต้องคำนึงถึงอันตราย ที่อาจเกิดจากสีผสม อาหารให้มาก ๆ และควรเลือกที่ปลอดภัยให้
มากที่สุด

สีผสมอาหารมีกี่ประเภท

ตามกฏหมายได้กำหนดสีที่อนุญาตให้ใช้ผสมอาหารได้ 3 ประเภท คือ

1. สีอินทรย์ ที่ได้จากการสังเคราะห์ ได้แก่ สีผสมอาหาร
2. สีอนินทรีย์ เป็นสีที่ได้จากสิ่งไม่มีชีวิตในธรรมชาติ เช่นผงถ่านที่ได้จากการเผากาบมะพร้าว
เกลือ ทองแดง เป็นต้น 

3. สีธรรมชาติ ได้จากการสกัดพืช สัตว์ เช่น
สีเขียว..........จากใบเตย 

สีแดง...........จากครั่ง กระเจี๊ยบ มะเขือเทศ พริกแดง
สีเหลือง........จากขมิ้นไข่แดง ฟักทอง
สีน้ำเงิน........จากดอกอัญชัน เป็นต้น


อันตรายจากสีผสมอาหาร

อันตรายส่วนใหญ่เกิดจากสีสังเคราะห์ทางเคมีซึ่งผู้ผลิตบางคนมักใช้สีย้อมผ้า หรือสีย้อมกระดาษ
ซึ่งมีโลหะหนักพวก ตะกั่ว ปรอท สารหนู สังกะสี โครเมี่ยม ปะปนอยู่ซึ่งทำให้เกิดผลต่อร่างกาย ดังนี้

ตะกั่ว: ระยะแรก จะทำให้ร่างกายอ่อนเพลี่ยเบื่ออาหารปวดศีรษะ โลหิตจาง ถ้าสะสมมากขึ้นจะมีอัมพาต
ที่แขน ขา เพ้อ ชักกระตุก หมดสติ

ปรอท: กรณีเฉียบพลัน จะมีอาการคลื่นไส้ ท้องเดิน ปวดมวนท้องรุนแรง ถ้าสะสมเรื้อรัง เหงือกจะบวม
แดงคล้ำ ฝันตาย เบื่ออาหาร อ่อนเพลี่ย

สารหนู: จะเกิดพิษต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้ผิดปกติ ตับอักเสบ หัวใจวาย

โครเมี่ยม:ถ้าสะสมในร่างกายเกินขนาดจะเกิดอาการเวียนศีรษะ กระหายน้ำรุ่นแรงอาเจียน หมดสติ
และ เสียชีวิต เนื่องจากไตไม่ทำงาน ปัสสาวะเป็นพิษ


อาหารที่ห้ามใส่สี 

อาหารที่ห้ามใส่สีผสมอาหารทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นสีจากธรรมชาติ หรือสีสังเคราะห์ มี 14 ชนิด คือ
1. อาหารทารก
2. ทอดมัน
3. กะปิ
4. ข้าวเกรียบ
5. แหนม
6. ไส้กรอก
7. ลูกชิ้น หมูยอ นมดัดแปลงสำหรับเด็ก
8. อาหารเสริมสำหรับเด็ก
9. ผลไม้สด
10. ผักดอง ชนิดที่ปรุงแต่งทำให้เค็มหรือหวาน
11. เนื้อสัตว์ทุกชนิด ที่ปรุงแต่ง รมควัน ทำให้แห้ง
12. เนื้อสัตว์สดทุกชนิด ยกเว้น ไก่
13. เนื้อสัตว์ทุกชนิดที่ปรุงแต่งทำให้เค็มหรือหวาน
14. ผลไม้ดอง


อันตรายจากสีผสมอาหาร

ด้านผู้ผลิต

ใช้สีจากธรรมชาติใส่ในอาหาร
ใช้สังเคราะห์ทางเคมีเฉพาะ "สีผสมอาหาร" เท่านั้น โดยใช้ในปริมาณที่กำหนด
คือ 1 มิลลิกรัม ต่อ อาหาร 1 กิโลกรัม
ในการเลือกซื้อสีผสมอาหาร ต้องสังเกตุข้อความบนฉลากดังนี้
มีคำว่า " สีผสมอาหา
ร"
ชื่อสามัญของสี
เลขทะเบียนอาหารของสีในเครื่องหมาย อย.
ปริมาณสุทธิ
ชื่อและที่ตั้งของสถานที่ผลิต

ด้านผู้บริโภค

เลือกซื้ออาหาร และเครื่องดื่มที่ไม่ใส่สี ถ้ามีสีควรเป็นสีอื่นอ่อน ๆ หรือ สีธรรมชาติ
ถ้าซื้อขนม อาหาร หรือเครื่องดื่มใส่สีที่บรรจุในภาชนะปิดสนิท ต้องมีเลขทะเบียนตำรับอาหาร หรือ เลขที่ อนุญาตฉลากอาหาร

บริโภคอาหาร และเครื่องดื่มไม่ใส่สีเป็นผลดีต่อสุขภาพ




ประเมิน

ตนเอง เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจทำสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ช่วยกันทำสิ่งที่ได้รับมอบหมายเต็มที่
อาจารย์ อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงเวลา งานวันนี้อาจารย์แนะนำแต่สิ่งที่ดีและมีประโยชน์ต่อนักศึกษาในอนาคตได้ อาจารย์เก่งถึงเวลาเรียนจะเหลือน้อยอาจารย์ก็พยายามนำความรู้ให้นักศึกษาทุกคนให้ได้รับความรู้ให้มากที่สุด อาจารย์บาสคนหล่อและใจดี